ด้วงสาคู - AN OVERVIEW

ด้วงสาคู - An Overview

ด้วงสาคู - An Overview

Blog Article

ทั้งนี้ ระหว่างการรวบรวมตัวด้วง เพื่อรอการผสมพันธุ์ให้กล้วยและน้ำเป็นอาหาร

Your browser isn’t supported any more. Update it to get the very best YouTube practical experience and our latest attributes. Find out more

และ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล กฟผ.

ด้วงงวงมะพร้าว (ด้วงสาคู) เป็นแมลงพื้นถิ่นที่นิยมเลี้ยงและบริโภคกันมากในพื้นที่ภาคใต้ เนื่องจากมีพืชอาหารที่สำคัญคือ ต้นลานหรือต้นสาคู โดยจะเลี้ยงบนท่อนลาน หรือท่อนสาคู ต่อมาได้มีการพัฒนารูปแบบการเลี้ยงแบบประยุกต์ คือการนำไปเลี้ยงในกะละมัง และนำต้นสาคูบดมาเป็นอาหารเลี้ยงในกะละมัง ทำให้สะดวกในการเลี้ยงมากขึ้น สามารถใช้พื้นที่ในการเลี้ยงที่จำกัด ต่อมาได้ขยายพื้นที่การเลี้ยงไปยังภาคอื่น ๆ ในประเทศไทยอย่างรวดเร็ว เนื่องจากสามารถขนส่งสาคูบดไปยังทุกภูมิภาคต่าง ๆ ได้สะดวก นอกจากนี้ยังสามารถใช้พืชอาหารอื่นทดแทนต้นสาคูและต้นลานได้ เช่น มันสำปะหลังเนื่องจากมีลักษณะเป็นแป้ง จึงนำมาผสมเป็นสูตรอาหารสำหรับด้วงได้สะดวกมากขึ้น และในปัจจุบันมีผู้คิดค้นสูตรอาหารสำหรับเลี้ยงอย่างหลากหลาย จึงทำให้สามารถเลี้ยงได้ทุกภูมิภาคทั่วประเทศ ด้วงงวงมะพร้าว (ด้วงสาคู) นำมาปรุงอาหารหลากหลายเมนู เช่น ทอด ปิ้ง คั่วเกลือ ผัด เป็นต้น

ขั้นตอนการเลี้ยงแบบพัฒนา (ใช้กะละมัง) แบบการเลี้ยงโดยใช้อาหารผสมเอง

ต้นลานที่ตัดเป็นท่อน การจัดการเลี้ยงด้วงสาคูแบบดั้งเดิม สิ่งที่ต้องให้ความสำคัญกับการเลี้ยงด้วงสาคูคือ ความสะอาดและการจัดการอย่างเป็นระบบ จึงประสบความสำเร็จ โดย

การเลี้ยงแบบดั้งเดิม โดยใช้ท่อนสาคูหรือท่อนลาน (แบบธรรมชาติ)

ไม้ไผ่ผ่าชีกสำหรับวางแถวซ้อนกะละมัง

ความรู้และบทวิเคราะห์ สถานการณ์ราคาสินค้าเกษตร

ฝ่ายสารสนเทศ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

เทคนิคเลี้ยง "ด้วงสาคู" ในกะละมัง เลี้ยงง่ายใช้พื้นที่น้อย สร้างรายได้หลักหมื่นต่อเดือน เทคโนโลยีชาวบ้าน

ที่มา :  คู่มือการเลี้ยงด้วงงวงมะพร้าว ด้วงสาคู (ด้วงสาคู) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ด้วงสาคู มีชื่อเรียกหลากหลาย เช่น ด้วงงวงมะพร้าว ด้วงไฟ ทางภาคใต้เรียกว่า ด้วงลานหรือแมงหวัง เป็นแมลงศัตรูพืชที่สำคัญของพืชตระกูลปาล์ม เช่น มะพร้าว ต้นสาคู หรือต้นลาน ปัจจุบันเป็นแมลงเศรษฐกิจมีความสำคัญเป็นแมลงกินได้และแหล่งอาหารโปรตีน ประเทศไทยสามารถเลี้ยงด้วงสาคูได้ทุกภาค ทุกฤดูกาล สามารถเลี้ยงได้ทั้งแบบธรรมชาติและการเลี้ยงแบบประยุกต์ เช่นการเลี้ยงในกะละมัง โรงเรือน ตู้กระจก การใช้ทางมะพร้าวเลี้ยง ด้วงสาคูเพาะพันธุ์และเลี้ยงง่าย โตเร็ว ใช้เวลาเพียงเดือนกว่า ก็สามารถจำหน่ายได้ มีแหล่งผลิตสำคัญทางภาคใต้เพราะมีสภาพอากาศเหมาะกับการเจริญเติบโตและการขยายพันธุ์

ถ.งามวงศ์วาน ลาดยาว จตุจักร กรุงเทพฯ

Report this page